บริเวณที่พบ :
เรือนเพาะชำแปลงเกษตร
ลักษณะพิเศษของพืช :
ไม้ประดับในร่ม
ลักษณะทั่วไป :
มีเหง้าสั้นตั้งตรงเป็นใบประกอบขนนกชั้นเดียว
ต้น :
เหง้าสั้นตั้งตรงเป็นใบประกอบขนนกชั้นเดียว
ใบ :
ใบยาวราว 15 ซ.ม. ใบย่อยมีขอบหยัก ปลายก้านใบยาวและมักไม่มีใบย่อยปลายก้านสามารถเกิดตาต้นอ่อนใหม่ได้เมื่อยื่นไปแตะพื้นหรือหิน
ประโยชน์ :
เฟินก้านดำ มีสรรพคุณใช้ทำยารักษา อาการไอ ไอเนื่องจากหืด เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ขับปัสสาวะ แก้ดีซ่าน นิ่วอุดตันในไต
ชาวเปรูแถบลุ่มน้ำอเมซอนใช้เฟินก้านดำทำยา บรรเทาอาการไอ ช่วยละลายเสมหะ แก้จุกแน่นหน้าอก แก้ขัดเบา ลดไข้ รูมาติสซัม
ลดกรดในกระเพาะ
กระจายพันธุ์ :
ในภาคเหนือ ตั้งแต่เชียงใหม่ ไล่ลงมาตามแนวป่า ด้านตะวันตก ถึงกาญจนบุรี นอกจากนี้ยังพบที่ จังหวัดเลย จังหวัดนครนายก
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
กลับหน้าหลัก
สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้
เฟิร์นก้านดำ
รหัสพรรณไม้
7-50100-001-166